แนวคิดพื้อนฐานของการสอนภาษา
1.ครูจะต้องทราบว่าเด้กของเราเรียนรู้
2.
3. เชื่อว่าเด็กทุกคนสามารถเรียนรู้ได้
4. เด็กจะเรียนได้ดีที่สุด ถ้าเราสอนแบบ Whoe Language คือ
4.1สอนอย่างเป็นธรรมชาติฃ
4.2 สอนอย่างมีความหมายต่อเด็ก เช่น เริ่มจากคำศัพท์ที่เด็กรู้จัก คุ้นเคย
4.3สอนให้เด็กสามารถนำ
5.เด็กจะเรียนรู้ได้ดีทีสุดมาจากการตัดสินใจ นั่นหมายถึงพร้อมที่จะรับรู้ในสิ่งที่เด็กอยากรู้ ครูจะต้องทำอย่างไรให้เด็กอยากจะเรียนซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่สุด
6.
7.ไม่ให้เด็กรู้สึกว่าตัวเองกำลังถูกแข่งขัน
8.ครูต้องสอนทักษะไปพร้อมๆกันและเกี่ยวข้องกัน เพราะดีที่สุกคือการสอนบนพื้นฐานของธรรมชาติ
9.ครูจะต้องทำให้เรียนภาษาของเด็กเป็นสิ่งที่น่าสนใจสนุกสนาน เช่น สื่อ เทคนิคการสอน วิธีการสอน เป็นต้น
ควรสอนภาษาเด็กอย่างไร
1.เริ่ม
2.
3.การประเมินโดยการสังเกต ควรที่จะมีแบบสังเกต
-สามารถจำเนื้อเรื่อง
-สามารถเข้าใจความหมาย บอกซ้ำ เล่าได้
4.
5.เสนอความคิดต่อผู้ปกครอง
-ทำอย่างไรพ่อแม่จึงจะเข้าใจวิธีที่จะส่งเสริมการเรียนรู้ของลูกได้
6.ส่งเสริมให้เด้กเรียนอย่างกระตือรือร้น
7.สร้างความรู้สึกประสบความสำเร็จ ช่วยเหลือ ให้กำลังใจ
8.
9.อ่านให้เด็กฟังจากหลายๆแหล่งเช่น นิทาน บทความ รายการอาหาร
10.จัดประสบการณ์อ่าน และส่งเสริลงมือกระทำ
11.ส่งเสริมให้เด็กกล้าลองผิด ถูก
12.พัฒนาทางด้านจิตพิสัย และให้เด็กรู้สึกรักในภาษา
ตัวอย่างกิจกรรมส่งเสริมการพุด
-อธิบายถึงภาพที่เห็น
-ทำท่าประกอบการพูด
-เล่านิทาน
-ลำดับเรื่องตามนิทาน
-เรียกชื่อตามนิทาน คือ ตัวละคร
-เรียกชื่อและอธิบายสิ่งของ
-จำและอธิบายสิ่งของ
-อธิบายขนาดและสี
ตัวอยางกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน และเขียน
-พ่อแม่ให้เด้กสังเกต
-ชักชวนลูกให้อ่านเครื่องหมายจราจร
- ชักชวนให้ลุกอ่านหนังสือพิมพ์
ชักชวนให้เขียนคำอธิบายภาพของครอบครัวและบันทึกคำพูดของลูก
-เขียนส่วนผสมอานหารและลองปรุง
-ให้เด็กรู้จักการเขียน เช่น เขียนโนต
-ให้ลูกมีส่วนร่วมในการอ่านจดหมาย
-จดรายการส่งของ
การฟัง
-ฟังประกอบหุ่น
-ฟังและแยกเสยง
-ฟังเยงคำคล้องจอง
-ฟังอย่างสร้างสรรค์และวิจารย์
-ฟังแวทำตามคำสั่ง
ขั้นตอนการอ่านและการเขียน
ขั้นที่1
-คาดเดาภาษาหนังสือ
-แก้ไขความผิดพลาดของความหมายด้วยตนเอง
-พยายามใช้ประสบกาณณ์จากการพุดกลับมาเป็นภาษาที่ใช้อ่าน
ขั้นที่2
-แกเขข้อผิดพลาดในประดยคด้วยตนเอง
-ตระหนักว่าตัวหนังสือมีความคงที่
-สามารถชี้บอกคำที่เหมือนกันกันซึ่งอยู่ในหน้าเดียวกัน
-สามารถมองตามตัวอัการบนแผ่นกระดาขนาดใหญ่ได้
ขั้นที่3
-จำคำที่คุ้นเคย
-คาดคะเนความหมายจากบริบท
-ใช้วิการอ่านไปในทิศทางเดียวกันจนเป็นนิสัย
-สามารระบุบอกชื่อตัวอักษรได้เกือบหมด
ขั้นที่4
-เข้าใจเกี่ยวกับ "การเริ่มต้น" และการลงท้าย เมื่อนำมาใช้ในการเดา
-ใช้เสียงช่วงต้นของคำในการเดาคำใหม่ เช่น ก กก ก กระดาษ ก กระดาน
-ใช้คำที่รู้มาแต่งประโยช์
ขั้นที่5
-ใช้เสียนงเริ่มต้นและเสียงควบกล้ำ
-สามารรู้ได้ว่าคำประบด้วยตัวอะไรบ้าง
การเขียน
ขั้นที่ 1
-ขีดเขี่ย
ขั้นที่2
-เส้นเริ่มยาว
ขั้นที่3
เขียนเป็นรูปร่างแต่ไม่เป็นตัวอักษร
ขั้นที่4
-เขียนตัวอักษรและสัญลักษณ์
ขั้นที่5
-เขียนตัวสะกด
วันศุกร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
วันศุกร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552
การศึกษาดูงาน ณ โรงเรียนอนุบาลสามเสน
ในการศึกษาดูงาน ณ โรงเรียนอนุบาลสามเสนครั้งนี้ ถือว่าเป็นครั้งแรกที่ดิฉันได้มีโอกาศศึกษาดูงานนอกสถานศึกษา และเป็นโรงเรียนที่เป็นต้นแบบของการใช้กิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งที่มีความสำคัญยิ่งต่อการเรียนของดิฉัน ในการศึกษาดูงานครั้งนี้ดิฉันได้รับโอกาศอันดี ในการเข้าไปสังเกตการเรียนการสอน และการทำกิจกรรมต่างๆ อย่างใกล้ชิด ได้รับรู้ถึงบรรยากาศของการทำกิจกรรมของครูและเด็กในห้องเรียน
ผู้ริเริ่ม กิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม
น.ส.ราศรี ทองสวัสดิ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลสามเสนฯ เป็นนักการศึกษาที่ริเริ่มนำ 6 กิกรรมหลักมาใช้ในการเตรียมความพร้อมของเด็ก ตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2518 และได้แพร่หลายไปทุกหน่วยงานที่จัดการศึกษาด้านปฐมวัย
กิจกรรมทั้ง 6 แยกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้
กิจกรรมเบา
-กิจกรรมการเล่นตามมุม
-กิจกรรมกลางแจ้ง
-กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์
กิจกรรมหนัก
-กิจกรรมเสริมประสบการณ์
-กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ
-เกมการศึกษา
ห้องเรียนที่ดิฉันได้ศึกษาดูงานนั้นคือ อนุบาล1/3 ห้องครูโบว์ มีนักเรียนทั้งหมด 33 คน
นักศึกษาฝึกสอน 3 คน
ดิฉันได้ไปสังเกตในขณะที่เด็กๆ กำลังทำกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ โดยคุณครูแบ่งโต๊ะออกเป็น 4 โต๊ะ
โดยแต่ละโต๊ะจะมีเก้าอี้ว่างอยู่ 1 ตัว เพื่อให้เด็กได้หมุนเวียนกัน
-โต๊ะแรกก็จะเป็นการวาดรูปตามจินตนาการโดยใช้สีเทียน
-โต๊ะที่ 2 เป็นกิจกรรมฉีก ติด ปะ
-โต๊ะที่ 3 เป็นกิจกรรมต่อเติมภาพ โดยใช้กล้วยเป็นแบบ
-โต๊ะที่ 4 เป็นกิจกรรมตัด ปะโดนครูมีการตัดกระดาษเป็นวงกลม แล้วสามเหลี่ยม แล้วให้เด็กทากาวแล้วติด เข้าด้วยกัน และจากนั้นก็นำไม้ไอติมมาติดเป็นด้าม
กิจกรรมที่สองคือ กิจกรรมเคลื่อนไหวจังหวะ ครูให้เด็กเคลื่อนส่วนต่างๆของร่างกายตามจินตนาการ
โดยมีการเคาะจังหวะเพื่อให้เด็กฟังแล้วเคลื่อนไหวตาม...
ผู้ริเริ่ม กิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม
น.ส.ราศรี ทองสวัสดิ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลสามเสนฯ เป็นนักการศึกษาที่ริเริ่มนำ 6 กิกรรมหลักมาใช้ในการเตรียมความพร้อมของเด็ก ตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2518 และได้แพร่หลายไปทุกหน่วยงานที่จัดการศึกษาด้านปฐมวัย
กิจกรรมทั้ง 6 แยกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้
กิจกรรมเบา
-กิจกรรมการเล่นตามมุม
-กิจกรรมกลางแจ้ง
-กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์
กิจกรรมหนัก
-กิจกรรมเสริมประสบการณ์
-กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ
-เกมการศึกษา
ห้องเรียนที่ดิฉันได้ศึกษาดูงานนั้นคือ อนุบาล1/3 ห้องครูโบว์ มีนักเรียนทั้งหมด 33 คน
นักศึกษาฝึกสอน 3 คน
ดิฉันได้ไปสังเกตในขณะที่เด็กๆ กำลังทำกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ โดยคุณครูแบ่งโต๊ะออกเป็น 4 โต๊ะ
โดยแต่ละโต๊ะจะมีเก้าอี้ว่างอยู่ 1 ตัว เพื่อให้เด็กได้หมุนเวียนกัน
-โต๊ะแรกก็จะเป็นการวาดรูปตามจินตนาการโดยใช้สีเทียน
-โต๊ะที่ 2 เป็นกิจกรรมฉีก ติด ปะ
-โต๊ะที่ 3 เป็นกิจกรรมต่อเติมภาพ โดยใช้กล้วยเป็นแบบ
-โต๊ะที่ 4 เป็นกิจกรรมตัด ปะโดนครูมีการตัดกระดาษเป็นวงกลม แล้วสามเหลี่ยม แล้วให้เด็กทากาวแล้วติด เข้าด้วยกัน และจากนั้นก็นำไม้ไอติมมาติดเป็นด้าม
กิจกรรมที่สองคือ กิจกรรมเคลื่อนไหวจังหวะ ครูให้เด็กเคลื่อนส่วนต่างๆของร่างกายตามจินตนาการ
โดยมีการเคาะจังหวะเพื่อให้เด็กฟังแล้วเคลื่อนไหวตาม...
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)